วันจันทร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

เลคเชอร์ครั้งที่ 9

สื่อไตเติ้ลรายการเทคนิคการนำเสนอ แนวคิคเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ งานโฆษณาในการสร้างสรรค์ผลงานให้ประสบความสำเร็จหลักการสร้างสื่อ เพื่อการนำเสนอผลงานที่ดีตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อไตเติ้ลรายการ
Titleศิลปะในการนำเสนอไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแต่มุมกล้องการจัดเสนอที่สวยงาม สื่ออารมณ์ และความมายตามที่ผู้ผลิต รายการต้องการเท่านั้น ยังมีศิลปะของการนำเสนออีกรูปแบบหนึ่งที่ทุกรายการจะขาดไม่ได้ นั้นคือ ส่วนที่เรียกว่าเป็น ส่วนประกอบรายการ อันได้แก่ ไตเติ้ล ตตัวอย่างรายการ อินเตอร์ลูคหรือดีซีน และทัศนรายการไตเติ้ล คือส่วนประกอบรายการโทรทัศน์ ที่ทำหน้าที่บอกชื่อรายการโดยปกติจะอยู่ ในส่วนทายสุดของรายการ
1. รูปแบบการนำเสนอ
2. ลักษณะของภาพ
3. ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง
4. ตัวอักษรชื่อรายการ
5. ลำดับการนำเสนอ
6. การใช้เสียง
7. ความยาว
8. ลีลา1.รูปแบบการนำเสนอไตเติ้ลรายการ คือ วิธีการเล่าเรื่องด้วยภาพที่ปรากฎในไตเติ้ลรายการ
1.1 การใช้ชื่อรายการ มีการใช้เฉพาะ ชื่อรายการเท่านั้นในการนำเสนอ โดยปราศจากภาพที่จะช่วยขยายความหรือเล่าเรื่อง
1.2 การใช้สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ เป็ฯสิ่งที่ใช้แทนความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป
1.3 การนำเสนอบุคคล การนำเสนอบุคคลในไตเติ้ล รายการมี 3 ลักษณะ คือ การแนะนำผู้ดำเนินรายการหรือพิธีกร การแนะนำนักแสดง และการนำเสนอแขกรับเชิญ
1.4 การใช้ภาพแสดงเนื้อหา ภาพแสดงเนื้อหาที่ใช้เป็นรูปแบบการนำเสนอไตเติ้ล ทำให้ผู้ชมทราบได้เป็นอย่างดี
1.5 การสร้างโครงเรื่อง โดยปกติแล้วโครงเรื่องเป็ฯส่วนประกอบสำคัญของการเล่าเรื่องเป็ฯรูปแบบละคร
2. ลักษณะของภาพไตเติ้ลรายการที่ดี
2.1 ชนิดภาพ มีการสร้างสรรค์ภาพโดยใช้ภาพที่ถ่ายจริง มักเป็นไตเติ้ล
2.2 มุมมองภาพ ที่ปรากฎ มักเป็นภาพประเภท- Simple shot คือ เป็นภาพที่มีเพียงวัตถุเท่านั้นที่เคลื่อนไหว- Developing shot คือ เป็นภาพที่ประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์- Complex shot คือ เป็นภาพประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์ (ซูมเข้า-ซูมออก หรือเปลี่ยนระยะชัด)
2.3 ลำดับภาพ คือ วิธีการเรียงร้อยภาพเข้าไว้ด้วยกันเพื่อการสื่อสารไปยังผู้ชม- การตัดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปต่อท้ายอีกภาพหนึ่ง- การจางซ้อนภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่ง ไปเชื่อมทั้งภาพหนึ่ง โดยที่ในช่วงการเชื่อมต่อ ช่วงท้ายของภาพแรกค่อย ๆ จางหาย- การกวาดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปเชื่อมกับอีกภาพหนึ่ง โดยช่วงการเชื่อมต่อยังคงเห็นทั้งสองภาพ มีความชัดเท่านั้น
3.ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง ได้แก่ พื้นที่ เส้น รูปร่าง ความเข้มสี สี การเคลื่อนไหว และจังหวะ
3.1 พื้นที่ การใช้พื้นหลังให้เป็นสามมิติ
3.2 เส้น ปรากฎอยู่ในทุกส่วนของภาพ เพราะเมื่อมีความแตกต่างของความเข้มสีหรือสีตัดกันอย่างชัดเจน เส้นจะพบเห็นในไตเติ้ล
3.3 รูปร่าง การใช้รูปร่างพื้นฐาน ได้แก่ วงกลม สี่เหลี่ยม และสามเหลี่ยม สำหรับรูปร่างพื้นฐาน สองมิติ และทรงกลม ลูกบาศก์
3.4 สีและความเข้มสี
สีแต่ละสีให้อารมณ์
สีแดง - ตื่นเต้นเร้าใจ
สีเหลือง - ดูสดใส ศักดิ์สิทธิ์
สีน้ำเงิน - หนักแน่นมีราคา
สีฟ้า - ให้ความสุขสบาย โปร่ง
สีเขียว - ความรุ้สึกสดชื่น
สีม่วง - มีเสน่ห์ ลึกลับ
สีชมพู - รู้สึกนุ่มนวล
สีสันหลากหลาย สดใส สนุกสนาน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น